เทคโนโลยีดิจิทัล Big Data และระเบียบวิธีวิจัยที่ได้รับแรงบันดาลใจจากอินเทอร์เน็ต จะ
เปลี่ยนแปลงการศึกษาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์อย่างไร / ระเบียบวิธีวิจัยและมุมมองสังคม
วัฒนธรรมในแบบมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จะขยับวิธีวิจัยด้านวิทยาศาสตร์อย่างไร ร่วมแลก
เปลี่ยนกับนักวิจัยหลากหลายสาขาได้ในเวทีนี้...
ศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ขอเชิญร่วมงานสัมมนาวิชาการประจำปี 2558
"สามัญดิจิทัล: พหุลักษณ์ของเทคโนโลยีสื่อและข้อมูลในสังคมวัฒนธรรมร่วมสมัย"
วันศุกร์ที่ 25 กันยายน 2558 เวลา 9.30-16.30 น.
ณ ห้องเอนกประสงค์ริมน้ำ ซั้น 1 คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
http://socanth.tu.ac.th/news/academic-events-updates/ccscs-seminar-2015-mundane-digital/
https://www.facebook.com/events/734693733341421/
## กำหนดการ ##
09.30 – 09.45 น.
กล่าวเปิดงาน โดย ดร.อนุสรณ์ อุณโณ
คณบดี คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
09.45 – 10.30 น. ปาฐกถา
"มนุษย-สังคมศาสตร์ กับ ภววิทยาปริวรรตของดิจิทัล"
ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
10.45 – 12.45 น. เวทีเสวนา #1
Big Data: ว่าด้วยสังคมศาสตร์-มนุษยศาสตร์
กับนโยบายเทคโนโลยี-การจัดการข้อมูล
"ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล"
ปรัชญา บุญขวัญ
ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีการประมวลผลภาษาธรรมชาติและความหมาย (LST)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
"เครือข่ายขนส่งทำมือในยุคดิจิทัล"
ยรรยง บุญ-หลง
สถาปนิกสมาคมสถาปนิกอเมริกา
"big data กับสังคมศาสตร์ไทย"
อัครนัย ขวัญอยู่
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
"กฎหมายกับความเป็นส่วนตัวในโลกดิจิทัล"
ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ร่วมอภิปราย-แลกเปลี่ยน
อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล
งานวิจัยและสื่อพลเมือง มูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
--
13.30 – 14.00 น.
"Data Journalism"
สฤณี อาชวานันทกุล
นักเขียนและนักวิชาการอิสระ
ประธานคณะทำงาน มูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
--
14.00 – 16.00 น. เวทีเสวนา #2
Tiny Bits: ว่าด้วยดิจิทัลในชีวิตสามัญ
"นาโน: สัมผัสของหนึ่งในพันล้านส่วน"
อานุภาพ สกุลงาม
กองวิชาการวิทยาศาสตร์ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
"ดิจิทัลที่รู้สึก: ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเทคโนโลยี และปฏิบัติการณ์ทางศิลปะ"
ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
ภาควิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
"มือถือพม่าและชีวิตที่เคลื่อนย้าย"
ดร.ประเสริฐ แรงกล้า
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
"วัฒนธรรมคือการก๊อปปี้: มองการเมืองผ่านการมีม"
อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล
งานวิจัยและสื่อพลเมือง มูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
อาจินต์ ทองอยู่คง
นักวิจัยอิสระ
16.00 – 16.30 น. อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
---
http://socanth.tu.ac.th/news/academic-events-updates/ccscs-seminar-2015-mundane-digital/
https://www.facebook.com/events/734693733341421/