FW: วุ้นนัยน์ตาเสื่อม

20 views
Skip to first unread message

ณัฐพงศ์ สรวงสำราญ

unread,
Jul 14, 2010, 2:50:39 AM7/14/10
to a_wij...@hotmail.com, aru...@bjc.co.th, Bacardi Lemon, Bua Triveat, kanc...@asiantrails.org, ks...@googlegroups.com, mat...@cmg.co.th, narin theamsranoi, natc...@thezignhotel.com, pan...@truemail.co.th, praphaty...@hotmail.com, s_nua...@yahoo.com, Singhto...@th.michelin.com, surap...@hotmail.com, Worawee Pongsupa, พี่ต้อม, Anan Piworabutr, Charissa Phungthongkhum, chid...@hotmail.com, dara...@hotmail.com, nampung haha, parichat...@hotmail.com, pat...@hotmail.com, patti...@hotmail.com, pongsak...@hotmail.com, tanya...@hotmail.com, Thananya Sokul, ทอมไอซ์, ศุภวดี พรหมปฏิมา


--- เมื่อ พฤ., 8/7/10, pornpun taechapeetikul <pk31...@hotmail.com> เขียน:

จาก: pornpun taechapeetikul <pk31...@hotmail.com>
เรื่อง: FW: วุ้นนัยน์ตาเสื่อม
ถึง: "aew" <thanya...@hotmail.com>, au....@hotmail.com, china...@yahoo.com, "JI (kanyarat)" <kanyar...@hotmail.com>, nung...@hotmail.com, poon...@hotmail.com, "กาญจนี แก้วอินทร์" <kank...@hotmail.com>, "จุ๋ม (สุวิมล)" <suvim...@hotmail.com>, "ณัฐพงศ์(ผปค.)" <natap...@yahoo.co.th>, "ธิดาพร เตชปีติกุล" <tida...@hotmail.com>, "ปลาย" <piel...@hotmail.com>, "สำราญ(ผปค.)" <ks_...@windowslive.com>, "สุรีย๊ (ผปค.)" <sur...@bot.or.th>, "เอ้ ชริญญา ตะยาภิวัฒน์" <ayis...@hotmail.com>
วันที่: วันพฤหัสบดี, 8 กรกฎาคม 2010 04:35 น.



Subject: Fw: : วุ้นนัยน์ตาเสื่อม

 

อยู่ดีๆผมก็รู้สึกว่าตาผิดปกติ มองอะไรก็มัว
มีจุดสีดำๆเต็มไปหมด จึงตัดสินใจไปพบแพทย์
แพทย์ตรวจดูบอกว่า เป็นวุ้นนัยน์ตาเสื่อม
และมีเลือดออกที่ในตา จึงตกใจ
แต่แพทย์บอกว่าไม่ได้อยู่ในขั้นอันตราย
แต่อยู่ในขั้นเฝ้าระวัง
พอกลับมาบ้านรีบหาข้อมูลอ่าน
จึงนำมาฝากเพื่อนๆ ด้วยความเป็นห่วง

สุรชัย อภิเชษฐโยธา

คนที่เล่นคอมพ์เกือบทุกคน เป็นโรค 'วุ้นในลูกตาเสื่อม' ตอนนี้ในประเทศไทย มีคนเป็นโรคนี้ถึง 14 ล้านคนแล้ว จากข้อมูลทางหนังสือพิมพ์ (นี่เฉพาะแค่ที่มีข้อมูลบันทึกไว้ คนที่ไม่รู้ตัวว่าตัวเองเป็นจะมากขนาดไหน?)

อาการก็คือ !
คุณจะเห็นเป็นคราบดำๆ เหมือนหยากใย่ ลอยไปลอยมาเหมือนคราบที่ติดกระจก จะเห็นชัดก็ต่อเมื่อ คุณมองไปยังภาพแบล็คกราวนด์ที่มีสีสว่าง เช่น ท้องฟ้าขาวๆ ฝาห้องขาวๆ ฝาห้องน้ำขาวๆ จะเห็นเป็นคราบดำๆ ลอยไปลอยมา ถ้าอาการมากกว่านั้นก็คือ ประสาทตาฉีกขาด คุณจะมองเห็นแสงแฟลชในที่มืด ไม่ว่าหลับตาหรือลืมตา (น่ากลัวมากๆ) และถึงขั้นนี้จะต้องผ่าตัด ซึ่งไม่มีอะไรรับประกันว่าจะดีเหมือนเดิม จะตาบอดหรือไม่?)

สาเหตุของโรคนี้คือ !
'การใช้สายตามากเกินไป' (เล่นคอม) แต่ก่อนโรคนี้จะเกิดกับผู้สูงอายุ หรือ คนที่มีอาชีพใช้ที่สายตามากๆ เช่น ช่างเจียระไนเพชรพลอย ! ที่ต้องใช้สายตาเพ่งมากๆ แต่เดี๋ยวนี้คนเป็นโรควุ้นในลูกตาเสื่อมกันมากเพราะ เล่นเนต หรือ เล่นคอม (คุณฟังไม่ผิดหรอก เดี๋ยวนี้คนเป็นโรค
นี้กันมากเพราะเล่นคอมนี่แหละ)
ทำไม คนเล่นเนต เล่นคอม ถึงเป็นกันมาก?
ไม่ว่าคุณจะเล่นเนต, เล่นเกมส์, อ่านไดอารี่, อ่านบทความ, อ่านหนังสือหรืออะไรก็ตาม ที่อยู่บนจอคอมพิวเตอร์ ล้วนทำให้สายตาคุณเสียได้ทั้งสิ้นเพราะว่า ถ้าคุณอ่านหนังสือที่เป็นแผ่นกระดาษธรรมดาๆ 'ระยะห่างระหว่าง ลูกตา กับ ตัวหนังสือ จะคงที่ แน่นอนเพราะขอบของตัว
หนังสือจะคมชัด ทำให้สมองกะระยะโฟกัสได้ถูกต้องแน่นอนกว่า กล้ามเนื้อและประสาทตาจึงทำงานค่อนข้างคงที่ แต่ ! ตัวหนังสือบนจอคอมพิวเตอร์นั้น มีลักษณะเป็นจุดๆ ประกอบกัน เหมือนแขวนลอยบนจอ ขอบของตัวหนังสือไม่คมชัด สมองจะสับสนในการปรับระยะโฟกัส ( เพราะจอแก้ว จะมีความหนาของแก้ว แต่เรามองผ่านมันไป ) (จอ LCD เราก็ต้องมองผ่านเข้าไปเหมือนกัน ตัวหนังสือไม่ได้ติดอยู่ด้านบนเหมือน อยู่บนแผ่นกระดาษ)
การปรับระยะโฟกัสจึงไม่แน่นอน บวกกับ ลักษณะการอ่านหนังสือในคอมนั้น จะต้องใช้เม้าส์จิ้ม ลากแถบด้านข้างจอ เพื่อเลื่อนบรรทัดหนังสือขึ้นลง เพื่อที่จะอ่านบรรทัดด้านล่างได้หรือไม่ก้อ ใช้ลูกหมุนที่อยู่บนเม้าส์หมุนเพื่อเลื่อนบรรทัดหนังสือ
แต่ การเลื่อนบรรทัดนี้ ไม่เหมือนกับการอ่านหนังสือจากแผ่นกระดาษ ที่แขนกับคอเราจะปรับการมองขึ้นลงโดยอัตโนมัติ มีระยะที่แน่นอน สัมพันธ์กัน แต่ว่าการเลื่อนบรรทัดด้วยแถบด้านข้าง หรือลูกกลิ้งบนม้าส์นั้น มันจะมีลักษณะการเลื่อนแบบกระตุกๆ (คุณสังเกตุดู ) มันจึง
ทำให้ปวดตามากๆ เพราะจะต้องลากลูกตาเลื่อนตามบรรทัดที่กระตุกๆ นั้นไปตลอด บวกกับ การพิมพ์ตัวหนังสือนั้น บางทีคุณต้องก้มเพื่อมองนิ้ว ว่ากดตำแหน่งบนแป้นพิมพ์ถูกตัวอักษรหรือไม่ ทำให้เดี๋ยวก้ม เดี๋ยวเงย ลูกตาปรับโฟกัสบ่อยเกิน ทำให้ลูกตาทำงานหนัก กว่าจะพิมพ์งานเสร็จ คุณจะปวดตามากๆ ตัวอย่างเช่นกรณีเด็กนักศึกษา เร่งพิมพ์รายงานส่งอาจารย์ ติดต่อกันข้ามคืน ! สองสามวัน ตาจะปวดมากๆ
รวมทั้งเวลาการเปิดใช้โปรแกรม word ในการพิมพ์ตัวหนังสือมักจะมีสีพื้นที่เป็นสีขาวสว่าง (ที่นิยมก็คือ ตัวหนังสือสีดำบนพื้นสีขาว) สีพื้นที่สว่างจ้านี่เอง ทำให้ตาคุณจะเกิดอาการแพ้แสง ถ้ามีการพิมพ์ติดต่อกันนานๆ เพราะจ้องจอสีขาวนานเกินไป หรือไม่ก็คนที่ชอบเล่นเกมส์บ่อย ๆ
มักจะมีการปรับแสงสว่าง เพราะเวลาเล่นเกมส์ ภาพพื้นหลังของเกมส์มักจะมืดๆ





ภาพแสดงของจอประสาทตาที่หลุดลอกออกมาแยกชั้นออกจากส่วนหลังของลูกตา

สรุปก็คือ
1. การมองตัวหนังสือที่แขวนลอยอยู่ในจอ โฟกัสไม่แน่นอน กล้ามเนื้อลูกตาทำงานหนัก 'ทำให้สายตาเสีย'
2. การเลื่อนตัวหนังสือและแถบบรรทัด ในหน้าคอม หรือ หน้าเนต มันจะเลื่อนแบบเป็นกระตุกๆ ทำให้สายตาเสีย การกระตุกๆ ของแถบบรรทัดนี่เอง ทำให้สายตาเสีย
3. การก้มๆเงยๆ มองแป้นพิมพ์ และมองจอคอม กลับไปกลับมา 'ทำให้สายตาเสีย '
4. การปรับจอภาพที่! มีแสงสว่างจ้า มากเกินไปโดยไม่รู้ตัว 'ทำให้สายตาเสีย' (คล้ายๆ กับการเปิดดูทีวี ในห้องมืดๆ เป็นประจำ แล้วทำให้สายตาเสียน่ะเอง อย่างเดียวกัน)
5. การใช้จอคอม ที่มีความกว้างมากเกิน !! (จอคอมกว้างๆ นั้น เหมาะสำหรับการดูภาพ ดูหนัง แต่ไม่เหมาะกับการดูตัวหนังสือ !!) เพราะว่า สายตาคนเรานั้นมีระยะการมองตัวอักษรที่ 1 ฟุต (12นิ้ว) แต่จอคอมสมัยใหม่ กลับมีความกว้าง 17 นิ้ว 19 นิ้ว หรือมากกว่านั้น ซึ่งมันกว้างเกิน
ระยะกวาดสายตามอง จากขอบหนึ่งไปสู่ อีกขอบหนึ่ง (ทำให้ปวดทั้งคอ ทั้งลูกตา)

ถามกลับไปว่า ทำไม กระดาษเอกสาร ที่ใช้ในการอ่านการเขียนทั่วไปจึงมีขนาด A4 ?
คำตอบ ก็คือ ความกว้างของกระดาษ A4 ไม่กว้างเกินไป กำลังพอดีกับการกวาดสายตามอง และเป็นคำตอบเดียวกับที่ว่าทำไมขนาดของจอคอมคุณที่ใช้ ไม่ควรเกิน 15 นิ้ว นั่นเอง

ส่วนมากคนทั่วไป มักจะคิดไม่ถึงว่า การเล่นคอมทุกวันนั้น จะเป็นสาเหตุใหญ่ที่สามารถทำให้ตาบอดได้ ถ้าเกิดอาการรุนแรงเพราะกว่าจะรู้ตัวแล้วไปหาหมอ หมอก็อาจจะบอกว่า คุณไม่สามารถรักษาหายได้แล้ว และต้องรักษาด้วยการผ่าตัดเท่านั้น!!!

******************
อ้างอิงจาก
http://www.fwdder.com/topic/9673


http://www.thai-toku.com/cgi-bin/board/YaBB.pl?num=1232594298

 


Hotmail: Trusted email with powerful SPAM protection. Sign up now.

Hotmail: บริการอีเมลฟรี ที่เชื่อถือได้ และสมบูรณ์พร้อม รับทันที

image001.gif
image001.gif
Reply all
Reply to author
Forward
0 new messages